แนวคิดทำนาน้ำน้อย 1 ไร่ ได้ 6 ตัน
การทำนานั้น เราจะต้องคำนึงถึงว่ามีปริมาณน้ำเพียงพอที่จะให้ต้นข้าวไหม เพราะว่าหากไร้น้ำหรือน้ำน้อยเกินไปก็จะทำให้ได้ผลผลิตไม่ดี ข้าวไม่แข็งแรง แต่ว่าไ ทยเราก็ประสบ ปั ญ ห า ภั ย แล้งกันแทบทุกปีเลย แต่ก็ใช่ว่าจะโดนทุกพื้นที่ ในบางพื้นที่ก็ยังทำนาปังหรือทำนานอกฤดูอยู่นะ แต่อีกหนึ่งไอเดียแนวคิดในการทำ น า ย่ า ง หนึ่งคือ ทำ น าน้ำน้อย โดยเป็นไอเดียจาก ดร.เกริก มีมั่งกิจ ที่ได้ทำและนำแนวคิดมาให้หลายคนนำไปปรับใช้กันดู
ในไท ยเรายังไงเสียสินค้าที่โดดเด่นเลยจะเป็นสินค้าเกษตร และ ก็ยังเป็นข้าวที่ส่งออกเยอะและความต้องการตลาดสูงทั้งในและนอกประเทศเลย แต่ว่าทุกวันนี้เหมือนปัญหาแล้งน้ำจะเจอกันบ่อยมากขึ้น ในหลายพื้นที่เลยก็เจอปัญหาส่งผลให้ทำนาข้าวได้ไม่ดีนัก
ทำให้ข้าวราคาไม่ดีประกอบกับราคาข้าวก็ยังตกไปตามเศรษฐกิจอีกด้วย ไอเดียในการทำนาน้ำน้อยเลยได้รับความสนใจไม่น้อย
มีเกษตรกรหลายที่นำไปปรับใช้ เพราะว่าไอเดียนี้ทำนาข้าว 1 ไร่นั้นจะทำให้ได้ข้าวกว่า 6 ตันเลยทีเดียว ซึ่งจะช่วยให้ได้ผลผลิตที่ดีและลดต้นทุนได้ดีอีกด้วย
ข้าวนั้นต้องการทั้งน้ำที่เพียงพอ และแดดที่เพียงพอด้วย รวมไปถึงอากาศที่เหมาะสม แต่ก็ประกอบไป กับการบำรุงดูแลที่ดี ด้ ว ย ปุ๋ ย จะต้องถึงด้วยนะ สภาพดินจะต้องสมบูรณ์ คอยจัดการวัชพืช ศัตรูพืชไม่ให้มาก่อกวนข้าวด้วย
ดร.เกริก มีมุ่งกิจ เป็นปราชญ์ชาวนา จ.สระแก้ว ได้ใช้แนวคิดนี้อยู่ในแปลงนาของตัวเอง แล้วได้ทดลองศึกษา ในเบื้องต้นจากข้าวเมล็ด ก็ทำให้ข้าวแตกกอได้ดี ทำให้ต้นข้าวเพิ่มขึ้นสูงกว่า 200 ต้น 200 รวง เมื่อเทียบกับการปลูกข้าวทั่วไปก็เห็นว่าได้ผลผลิตดีทีเดียว 6 ตัน ต่อ 1 ไร่
ซึ่งก่อนจะทำนาข้าวน้ำน้อยนี้ จะต้องมีการเตรียมดินปลูกให้ดีอีกด้วย ซึ่งเป็นการทำนาในช่วงนาปรังในเดือน มกราคา – เมษายน ในพื้นที่ 3 งาน ซึ่ง ดร.เกริก มีมุ่งกิจ ได้ทำในปี 2560 แล้วก็ได้มอบรายละเอียดในการกระบวนการทำนาน้ำน้อยให้ละเอียดมากขึ้น ซึ่งก็ทำแบบนี้
1 หญ้าก็ไม่ต้องทำอะไรปล่อยไว้แบบนั้น
2 หาเอาฟางข้าว หญ้าแห้ง เศษใบไม้มาเทลงไปในนาข้าว เทลงไปให้เยอะสุดเลย
3 ห มั ก ใบไม้แล้วเอามาเทลง เกลี่ยให้ทั่วท้องนา ประมาณ 30 กระสอบ
4 เอา ปุ๋ ย อิ น ท รี ย์ ที่ทำเอง 6 กระสอบเอาไปเทลงไปเลย
5 เอาจุ ลินทรีย์หน่อกล้วยที่ห มักแล้วมา 20 ลิตร ผสมน้ำเปล่า 400 ลิตร ใส่บัวรดน้ำมาราดให้ทั่ว
6 จากนั้นทำการไถเพื่อคลุกส่วนผสมทั้งหมดโดยใช้ผา 3 – 5 – 7 จะผานไหนก็ตามสะดวกเลย
7 รดน้ำให้ดินชื้น ๆ และรัก ษาความชื้นของดินสม่ำเสมอ ไม่น้อยกว่า 15 – 20 วันเลย เป็นการย่อยสลายอินทรียวัตถุและจุลิ นทรีย์ต่าง ๆ เริ่มขย ายตัว
8 พอจะปลูกข้าวก็ใช้รถไถติดตัวปั่น ปั่นที่นาให้เรียบ ให้ร่วนซุยก่อน แล้วค่อยทำการหยอดเมล็ดข้าวลงไป
ซึ่งตามลำดับข้อที่กล่าวมานั้นก็เป็นตัวอย่ างหลักการในการเตรียมดิน และนอกจากนั้นเมล็ดพันธุ์ข้าวที่นำมาปลูกนั้นจะต้องสมบูรณ์ด้วย
ปลูกโดยการระบบหยอดหลุม ระยะห่างที่ 40 x 40 เซนติเมตร/หลุม การให้น้ำด้วยระบบเทปน้ำพุ้งนั้นให้เฉพาะดินแห้ง ให้ไปวันละ 10 นาที แล้วก็บริหารจัดการแปลงนาแบบชีวภาพ
แต่ว่าหากจะหาความชัดเจนเป็นระบบของไอเดียนี้อาจจะย ากสักหน่อย แต่ว่าเมื่อ มกราคา 2560 นั้นสภาเครือข่ายองค์กรเกษตรกรแห่งประเทศไท ย และกลุ่มชาวนาคนกล้าคืนถิ่น อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาจ ได้รวมตัวกันเพื่อวางแผนปฏิบัติการและปลูกทดลองจริงในที่นาตัวเอง ในช่วงฤดูทำนาปรัง และนาปีปกติเลย
ซึ่งเจตนารมณ์ในการทดลองครั้งนี้ ทดลองในแปลงนาภาคกลาง ไม่ได้หวังผลผลิตที่สูงหลายเท่าตัว ซึ่งหวังผลผลิตที่ 3 ตัน/ไร่ ซึ่งปัจจุบันผลิตข้าวในภาคกลางได้ที่ 1.5 ตัน/ไร่ เท่านั้นเอง
แต่ก็เป็นการริเริ่มทำอะไรใหม่ ๆ ของชาวนา เป็นการทำนาแบบประหยัดต้นทุน ลดการใช้สา รเคมี และได้ผลผลิตดีขึ้นด้วย ซึ่งเรียกว่าการทำนาปี 3 รอบก็ว่าเอง ซึ่งทำแล้วมันก็คุ้มนะ
แม้ว่าการทำนาน้ำน้อยนี้จะเห็นแล้วว่าทำได้จริง ได้ผลผลิตดีขึ้น แก้ไขข้อจำกัดได้หลายอย่ างเลยโดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำ แต่ก็ไม่ได้หวังว่าเกษตรกรทุกคนจะต้องนำไปใช้ เพราะว่าก็ขึ้นอยู่กับว่าใครจะสะดวกไหม และก็ไม่ได้หวังให้มองเพียงแค่ตัวเลขที่ได้เท่านั้น หันไปเพิ่มรอบการผลิตและการขย ายพื้นที่ในการทำนาก็จะดีนะ เพราะว่าอาจจะทำให้กลับไปเจอปัญหาแบบเดิมได้เช่นกัน
การทำนาน้ำน้อยนั้นก็เป็นอีกหนึ่งแนวคิดทางเลือกให้แก่เกษตรกรที่ทำนานั้นนำไปปรับใช้กันได้ แต่ไม่ว่าจะทำนาด้วยวิธีไหนก็จะต้องคิดถึงต้นทุน แรงงาน ปัจจัยอื่น ๆ มาเกี่ยวข้องด้วย เพราะว่าในการทำนาแต่ละครั้งเราก็ต่างหวังในผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ มีความยั่งยืน แต่ข้อดีของการทำนาน้ำน้อย เน้นแนวชีวภาพ นั้นดีตรงที่เราไม่ต้องเจอกับสา รเ ค มี ทั้งคนปลูกและผู้บริโภคด้วยนะ
เรียบเรียงโดย kasetchaoban